อาหรับปิดล้อมคอนสแตนติโนเปิล ค.ศ. 717-718
ช่วงเวลาเดียวกับที่อาหรับข้ามไปตีสเปน อีกฟากหนึ่งทางด้านตะวันออกของเมดิเตอร์เรเนียน อาหรับก็กำลังจัดทัพเรือขนาดใหญ่เพื่อบุกกรุงคอนสแตนติโนเปิล เมืองหลวงของไบแซนไทน์
ช่วงเวลาเดียวกับที่อาหรับข้ามไปตีสเปน อีกฟากหนึ่งทางด้านตะวันออกของเมดิเตอร์เรเนียน อาหรับก็กำลังจัดทัพเรือขนาดใหญ่เพื่อบุกกรุงคอนสแตนติโนเปิล เมืองหลวงของไบแซนไทน์
อนุสาวรีย์ระลึกถึงผู้พลีชีพจากการก่อกบฏต่อออตโตมัน(ช่วง WWI) ที่เต็มไปด้วยรอยกระสุนปืนจากสงครามกลางเมืองเลบานอนทศวรรษที่ 1980 (ถ่ายเมื่อต้นปี) อนุสาวรีย์แห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณเส้นกรีนไลน์ แนวรบช่วงสงครามกลางเมือง ทิศเหนือเป็นฝั่งมาโรไนท์ และทิศใต้เป็นเขตซุนนี่
ภาษามลายูกลายเป็นภาษากลางสำหรับการสื่อสารไปมา (Lingua franca) ของผู้คนในดินแดนภาคพื้นสมุทรของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สืบเนื่องจากการเป็นศูนย์กลางการค้าเครื่องเทศของมะละกา พร้อมๆกับการเป็นศูนย์กลางแผ่ขยายของอิสลามในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
การขุดค้นศึกษาเรืออาหรับโบราณพนมสุรินทร์ จ.สมุทรสาคร โดยกรมศิลปากร ซึ่งค้นพบตั้งแต่ปี 2556 คืบหน้าไปมากในปีนี้ เรือลำนี้เป็นจิกซอร์หนึ่งที่จะปะติดปะต่อให้เห็นความมั่งคั่งของเครือข่ายการค้าทางทะเลระหว่างจีนและอาหรับในอดีตซึ่งดินแดนต่างๆ ในน่านน้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เข้าไปมีส่วนร่วม
ระยะเวลา 15 ศตวรรษหรือ 1,500 ปีนี้ มาจากภาพปรากฏอยู่ในจดหมายเหตุราชวงศ์เหลียง หรือเหลียงชู ของจีน (ค.ศ. 502 - 563) บุคคลในภาพชื่อ อชิตะ (จีนออกเสียงเป็นอาเซ่อตัว) เป็นราชทูตจากลังกาสุกะ (จีนออกเสียงเป็น หลังหยาสิ้ว บางแหล่งเรียก หลาง หย่า ซุ่ย)