บทความ

มุฮัมมัด อิบนุ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (เสียชีวิตประมาณ ปี ค.ศ. 850) หนึ่งในนักปราชญ์ที่ทำงานในหอสมุดบัยตุลฮิกมะห์ และหอสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ในมหานครแบกแดด ตลอดสมัยของเคาะลีฟะห์อัลมะมูน (ปกครองช่วงปี ค.ศ. 813-833)

ปัจจัยสำคัญที่มีทำให้ความรู้ทางดาราศาสตร์ รวมถึงศาสตร์ด้านอื่นๆ พัฒนาขึ้นในโลกอิสลามก็คือการที่ศาสนาอิสลามกำเนิดขึ้นในดินแดนที่อยู่ระหว่างอารยธรรมโบราณ อันได้แก่อารยธรรมลุ่มน้ำเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเปอร์เซีย กรีกและโรมันในซีเรียและอารยธรรมลุ่มน้ำไนล์ในอียิปต์ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่สเปนจนถึงชายแดนจีนในเอเซียกลางและอินเดีย

บทความเรื่องนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่ามุสลิมในยุคกลางมีบทบาทอย่างไรในการพัฒนาความรู้ทางดาราศาสตร์ และมีอิทธิพลอย่างไรบ้างต่อการพัฒนาศาสตร์ด้านนี้ของชาวยุโรปในเวลาต่อมา
ลักษณะสำคัญของการพัฒนาความรู้ทางดาราศาสตร์โดยมุสลิมในยุคกลางนั้นก็คือ

มุฮัมมัด อัลอิดรีซีย์ มีชีวิตระหว่างปี ค.ศ. 1100 – 1165 เกิดที่เมืองซับตะห์ บนฝั่งอัฟริกาเหนือ ศึกษาในเมืองคอร์โดบา ศูนย์กลางของมุสลิมในสเปน และเดินทางไปอัฟริกาเหนือ สเปน ข้ามเทือกเขาพิเรเนส ไปตามชายฝั่งตะวันตกของฝรั่งเศส ข้ามไปยังเกาะอังกฤษ ฮังการี และอนาโตเลีย

 เรามักจะได้ยินเรื่องราวของปืนใหญ่พญาตานี ว่าหล่อโดยช่างชาวจีน นามลิ้มโต๊ะเคี้ยม ทั้งนี้ มีบันทึกประวัติศาสตร์อ้างอิงเรื่องนี้ที่สำคัญสองชิ้นคือ 

เกิดขึ้นระหว่าง 15-20 สิงหาคม ค.ศ.636 ริมแม่น้ำยัรมูกในจอร์แดน ระหว่างกองทัพโรมันตะวันออก(ไบแซนไทน์)และกองทัพอาหรับของเคาะลีฟะห์รอชิดูนแห่งมะดีนะห์ ผลของสงครามเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจในซีเรียและตะวันออกกลางไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง

“หากฝ่ายอาหรับมีชัยในสงครามนี้ ก็คงได้เห็นมัสยิดตั้งตระหง่านในลอนดอนและปารีสแทนที่จะเป็นมหาวิหารอย่างทุกวันนี้ และเสียงท่องจำอัลกุรอานก็คงมาแทนที่พระคัมภีร์ไบเบิลในออกซฟอร์ดและสถาบันศึกษาชั้นนำอื่นๆของยุโรปเป็นแน่”
 

El Ultimo Suspiro del Moro “สะอื้นสุดท้ายของพวกมัวร์” ชื่อที่คนในท้องถิ่นแถบนั้นเรียกเนินหินเตี้ยๆที่ครั้งหนึ่งเจ้าชายอาหรับยืนหันไปดูอาณาจักรของเขาเป็นครั้งสุดท้าย เนินแห่งนี้อยู่นอกเมืองเกรนาดา ทางภาคใต้ของสเปน

 เหรียญทองหนัก 4.28 g นี้ ผลิตบนเกาะอังกฤษ ประมาณร้อยห้าสิบปีหลังการเสียชีวิตของท่านศาสดามุฮัมมัด 
ด้านแรก สลักกลางเหรียญเป็นภาษาอาหรับอ่านว่า lā-ilaha il-Allāh waḥdahu la sharīkalah (ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ ผู้ทรงเอกะ ไม่มีสิ่งใดเทียบพระองค์ได้" 

คาดว่าจะมาจากไทรบุรีหรือเคดะห์ เนื่องจากในอดีตทางกรุงรัตนโกสินทร์ได้มอบหมายอำนาจหน้าที่ในการปกครองเมืองไทรบุรี-เคดะห์ ซึ่งเป็นประเทศราชให้แก่นครศรีธรรมราช ปรากฏว่าทางเคดะห์เคยก่อกบฏต่อต้านการปกครองของสยามช่วง ปี ค.ศ.1832-39 หลังสงคราม คาดว่าจะมีการยึดศาสตราวุธและเชลยจำนวนหนึ่งไปยังนครศรีธรรมราชฃ

เป็นจารึกของจาม ซึ่งพูดภาษามลายู-จาม จารึกด้วยตัวอักษรพรามี (Brāhmī scrip - ตัวอักษรต้นกำเนิดของอักษรในเอเชียตอนใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ในสมัยของภัทรวรมันที่ 1 (Bhadravarman I) กษัตริย์จามปาในช่วงปลายคริสตวรรษที่ 4

ชาวสะกอมเป็นชนกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาจากอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อหนีอหิวาตกโรคมาตั้งถิ่นฐานใหม่ที่บางพังกา ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ต่อมาเกิดภาวะฝนแล้งจนพรุกระจูดแห้ง ผู้นำจึงได้ออกสำรวจสถานที่มาเรื่อยๆ จนพบคลองที่ไหลมาจากอำเภอนาทวี ออกสู่อ่าวไทยที่บ้านปากบางสะกอม