บทความ

“ทันทีที่มีการประกาศตั้งประเทศอิสราเอล บรรดาชาติอาหรับซึ่งมีกำลังเหนือกว่าก็ยกทัพหวังบดขยี้อิสราเอลให้พินาศ แต่อิสราเอลสามารถเอาชนะศัตรูผู้รุกรานได้”
เรื่องนี้ถูกอ้างอิงเสมอเพื่อสร้างความชอบธรรมในการยึดครองดินแดนของชาวปาเลสไตน์ ข้อเท็จจริงคือฝ่ายอาหรับมีกำลังพลและอาวุธด้อยกว่า ซ้ำยังมีความแตกแยกกันเอง โดยเฉพาะระหว่างอียิปต์และจอร์แดน

"ชาวปาเลสไตน์ต้องกลายเป็นผู้อพยพ เพราะเมื่อปี 1948 ชาติอาหรับได้สั่งให้ชาวปาเลสไตน์อพยพออกมา เพื่อได้กวาดล้างยิวให้หมด แต่เมื่ออาหรับแพ้ พวกเขาเลยกลับไม่ได้”

ตั้งแต่ดินแดนส่วนใหญ่ของสเปน ถูกรัฐคริสเตียนที่ประกอบด้วยแคชตีล อะรากอนและโปรตุเกสพิชิตไปในช่วงครึ่งแรกของคริสตวรรษที่ 13 ก่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ของสังคมต่างวัฒนธรรมต่างความเชื่ออันได้แก่มุสลิม คริสเตียนและยิว ซึ่งนักประวัติศาสตร์สเปนในปัจจุบันเรียกกันว่า convivencia ซึ่งแปลว่า “การอาศัยอยู่ร่วมกัน”

ประมาณปี ค.ศ. 1250 พื้นที่ส่วนใหญ่ของคาบสมุทรไอบีเรียตกอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์แห่งอะรากอน แคชตีลและโปรตุเกส มีเพียงเกรนาดาและดินแดนโดยรอบทางตอนใต้ที่มุสลิมยังสามารถครอบครองอยู่ต่อมาอีกประมาณ 250 ปี 

อับดุลเราะห์มาน อิบนุ อุมัร อัศศูฟีย์ นักดาราศาสตร์มุสลิมมีชีวิตระหว่าง ค.ศ. 903-986 ในยุคที่อำนาจของเคาะลีฟะห์วงศ์อับบาซิยะห์ได้เสื่อมลง และเกิดอาณาจักรต่างๆแยกตัวเป็นอิสระ

แม้ในช่วงแรกๆ นักดาราศาสตร์มุสลิมจะสนใจดาราศาสตร์ของอินเดีย แต่ดาราศาสตร์ของกรีกก็เริ่มเข้ามา นักวิชาการประจำหอสมุดบัยตุลฮิกมะห์แห่งแบกแดดมีบทบาทสำคัญในกรณีนี้

มุฮัมมัด อิบนุ มูซา อัลคอวาริซมีย์ (เสียชีวิตประมาณ ปี ค.ศ. 850) หนึ่งในนักปราชญ์ที่ทำงานในหอสมุดบัยตุลฮิกมะห์ และหอสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ในมหานครแบกแดด ตลอดสมัยของเคาะลีฟะห์อัลมะมูน (ปกครองช่วงปี ค.ศ. 813-833)

ปัจจัยสำคัญที่มีทำให้ความรู้ทางดาราศาสตร์ รวมถึงศาสตร์ด้านอื่นๆ พัฒนาขึ้นในโลกอิสลามก็คือการที่ศาสนาอิสลามกำเนิดขึ้นในดินแดนที่อยู่ระหว่างอารยธรรมโบราณ อันได้แก่อารยธรรมลุ่มน้ำเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเปอร์เซีย กรีกและโรมันในซีเรียและอารยธรรมลุ่มน้ำไนล์ในอียิปต์ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่สเปนจนถึงชายแดนจีนในเอเซียกลางและอินเดีย

บทความเรื่องนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่ามุสลิมในยุคกลางมีบทบาทอย่างไรในการพัฒนาความรู้ทางดาราศาสตร์ และมีอิทธิพลอย่างไรบ้างต่อการพัฒนาศาสตร์ด้านนี้ของชาวยุโรปในเวลาต่อมา
ลักษณะสำคัญของการพัฒนาความรู้ทางดาราศาสตร์โดยมุสลิมในยุคกลางนั้นก็คือ

มุฮัมมัด อัลอิดรีซีย์ มีชีวิตระหว่างปี ค.ศ. 1100 – 1165 เกิดที่เมืองซับตะห์ บนฝั่งอัฟริกาเหนือ ศึกษาในเมืองคอร์โดบา ศูนย์กลางของมุสลิมในสเปน และเดินทางไปอัฟริกาเหนือ สเปน ข้ามเทือกเขาพิเรเนส ไปตามชายฝั่งตะวันตกของฝรั่งเศส ข้ามไปยังเกาะอังกฤษ ฮังการี และอนาโตเลีย

 เรามักจะได้ยินเรื่องราวของปืนใหญ่พญาตานี ว่าหล่อโดยช่างชาวจีน นามลิ้มโต๊ะเคี้ยม ทั้งนี้ มีบันทึกประวัติศาสตร์อ้างอิงเรื่องนี้ที่สำคัญสองชิ้นคือ 

เกิดขึ้นระหว่าง 15-20 สิงหาคม ค.ศ.636 ริมแม่น้ำยัรมูกในจอร์แดน ระหว่างกองทัพโรมันตะวันออก(ไบแซนไทน์)และกองทัพอาหรับของเคาะลีฟะห์รอชิดูนแห่งมะดีนะห์ ผลของสงครามเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจในซีเรียและตะวันออกกลางไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง